Skip to main content
เช้านี้ (3 ต.ค.) ปรีดา ลิ้มนนทกุล ประธานเครือข่ายพิทักษ์สิทธิคนพิการแถลงข่าวกรณีละเมิดสิทธิและการปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมในการจ้างงานคนพิการตามมาตรา 33 และ 35
วันนี้ (24 ก.ย.61) กลุ่มคนพิการทางสายตากว่า 50 คนพร้อมเครือข่ายซึ่งได้รับประโยชน์จากมาตรา 33, 35 เข้าพูดคุยกับวิวัฒน์ ตันหงส์ รองปลัดกระทรวงแรงงาน ณ กระทรวงแรงงาน เขตดินแดง โดยระบุว่า การยื่นหนังสือของปรีดา ลิ้มนนทกุล เครือข่ายพิทักษ์สิทธิคนพิการ ต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
พม.แจง 3 ประเด็นกรณีคนพิการยื่นหนังสือ กสม.ตรวจสอบการละเมิดสิทธิและปฎิบัติไม่เป็นธรรมเรื่องการจ้างงานคนพิการตาม ม.33และ 35 โดยระบุไม่เคยมีการร้องเรียนเรื่องหักหัวคิว- พร้อมตรวจสอบข้อเท็จจริงและดำเนินคดีหากพบว่ามีความผิดจริง
พล.ต.อ. อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ชี้กระทรวงแรงงานไม่เคยได้รับร้องเรียนทุจริตเงินคนพิการ พร้อมย้ำสั่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีคนพิการหนังสือกรรมการสิทธิฯ เรื่องทุจริตเงินจ้างงานคนพิการตาม ม.33 และ 35 ภายใน 15 วัน
ปรีดา ลิ้มนนทกุล ประธานเครือข่ายพิทักษ์สิทธิคนพิการ ยื่น กสม.สอบสมาคม-มูลนิธิทุจริตค่าจ้างฝึกอบรมกว่า 1,500 ล้านบาท ระบุจนท.ละเว้นหน้าที่หลังเคยร้องนายกฯ แล้ว เหตุเพราะคนพิการไม่รู้สิทธิ
เมื่อวันที่ 5 พ.ค.ที่ผ่านมา สุชาติ โอวาทวรรณสกุล นายกสมาคมสภาคนพิการทุกประเภทแห่งประเทศไทย เผยแพร่ข้อความในเฟสบุ๊กส่วนตัวถึงกรณีคัดค้านมติที่ให้กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พก.) นำเงินกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการส่งเข้าคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
เปิดตลาดนโยบายในฝันของคนพิการ เพิ่มกระบวนการยุติธรรมของคนพิการ-ผู้ช่วยคนพิการโดยรัฐ-ส่งเสริมท้องถิ่นกำกับหน่วยงาน-ระบุความพิการให้ชัดเจนและตอบสนองความต้องการมากขึ้น
ปัจจุบันประชากรโลกให้ความสำคัญกับเสรีภาพ สิทธิมนุษยชน และความเท่าเทียมมากขึ้น โดยเฉพาะความเท่าเทียมทางเพศระหว่างชาย-หญิง ที่กลายเป็นหัวข้อสำคัญในการขับเคลื่อนความเท่าเทียมในสังคมของโลกยุกโลกาภิวัตน์ แต่กระนั้นเองก็ยังมีความไม่เท่าเทียมที่ถูกกดทับยิ่งกว่าคือความเป็นหญิงและความพิการ
คณะคนหน้าขาวภายใต้การกำกับของมูลนิธิเสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป ร่วมกับหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร จัด"เทศกาลหัวใจพองโต"งานรำลึกถึงไพฑูรย์ ไหลสกุล (อั๋น คนหน้าขาว) นักละครใบ้คนสำคัญของไทยซึ่งเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจในเมื่อวันที่ 8 พ.ย. 60 
คนพิการไม่ใช่คนที่ไม่มีพื้นที่ แต่พื้นที่ที่คนพิการได้มักจะเป็นคนละที่กับที่คนทั่วไปใช้ คือเป็นพื้นที่ที่ถูกจัดสรรออกจากผู้อื่นข้อบ่งชี้ที่จะนำไปสู่ความเป็น Inclusive Development ต้องมีด้วยกันสามประการ อย่างแรกคือการมีส่วนร่วมหรือ full and Deflective participation ช่วยกันคิด ทำและช่วยกันรับผล อย่างที่สองคือ การเข้าถึงทรัพยากร อย่างสุดท้ายคือการเสริมพลังหรือ Empower ช่วยกันพัฒนาและเสริมพลังกันอย่างเต็มที่แนวคิดประชาธิปไตยควรจะ Inclusive Democracy คือไม่ควรจะเป็นประชาธิปไตยของคนส่วนใหญ่ แล้วแค่คำนึงถึงคนส่วนน้อย แต่ควรเป็นประชาธิปไตยของคนทุกคน Democracy for Allไม่ใช่การพัฒนาที่ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลังแต่หนีบไปเฉยๆ ทุกคนควรพัฒนาไปด้วยกัน พร้อมกัน