Skip to main content
เมื่อ 8 ปีก่อน อีวาน โอเวนซิ่งนักออกแบบหุ่นยนต์และกลไกในภาพยนตร์ “ทรานฟอร์เมอร์” ได้ออกแบบนิ้วเทียมและพิมพ์ด้วยเครื่องมือสามมิติเพื่อให้ช่างไม้ชาวแอฟริก้าใต้ที่ถูกเครื่องจักรตัดนิ้วมือทดลองใช้ และปรากฎว่าสามารถใช้งานได้อย่างดี จนนำไปใช้กับกลุ่คนที่ประสบอุบัติเหตุจนพิการ และขยายไปทดลองใช้กับกลุ่มเด็กที่ถูกถุงน้ำคร่ำรัดมือจนไม่ไม่นิ้วขณะอยู่ในครรภ์อีกด้วย
เราเริ่มต้นด้วยการถามว่า คำถามไหนที่เจอบ่อยและขี้เกียจตอบแล้ว เพราะที่ผ่านมา จิระ ชนะบริบูรณ์ชัย เจ้าของแบรนด์ ONCE แบรนด์เสื้อที่มีจุดเด่นตรงที่คนตาบอดสามารถอ่านสีและไซส์ของเสื้อได้จากอักษรเบรลล์ที่อยู่ด้านหลังนั้นต้องตอบคำถามเหล่านี้มากกว่า
         ผมค่อยๆ เขยกเท้าขึ้นสะพานลอยแบบทุลักทุเล มันทั้งเจ็บและทรมาน แผลจากการเหยียบหินตอนไปทะเลมีครบทั้งสองข้าง เท้าแทบลงน้ำหนักเวลาเดินไม่ได้ ทั้งที่ไม่ได้มีใครเดินตามมา เรากลับกังวลว่า คนที่จะเดินตามมาเขาจะหาว่าเราเดินช้า ทั้งหมดเป็นความกังวลของตัวเองล้วนๆ ผมอยู่บนสะพานลอยเดิมที่รอบนี้ใช้เวลา
เมื่อวันที่ 25 ม.ค.2561 สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ และกระทรวงสาธารณะสุข ได้จัดการประชุมเชิงวิชาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน (CBR Forum 2018) โดยมีเวที “เพราะเด็กก็คือเด็ก ” (Because a child is a child)  ซึ่งได้รับความสนใจและมีผู้ร่วมเสวนาหลายคน ได้แก่ ปิยะนุช ชัชวรัตน์ ประธานศูนย์บ้านทอฝัน สมาคมสมาคมพัฒนาศักยภาพบุคคลออทิสติก จ.เชียงราย, ดร.สุจินต์ สว่างศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนลพบุรีปัญญานุกุล จ.ลพบุรี, ประสานทอง จันทมณี ผู้อำนวยการโรงเรียนเขากลอย จ.สงขลาและจันทนา เจริญวิริยะภาพ ประธานชมรมผู้บกพร่องทางการเรียนรู้ จ.สงขลา
เราเคยเห็นคนพิการถูกนำแสนอในสื่อแบบไหนบ้าง? คงปฏิเสธไม่ได้ว่า ภาพน่าสงสารมักมาพร้อมกับคนพิการในสื่ออย่างอัตโนมัติ เพราะอะไรคนพิการในสื่อจึงต้องน่าสงสาร นอกจากเรื่องความน่าสงสารและประเด็นดราม่าแล้ว ชีวิตคนพิการมีมิติไหนให้นำเสนออีกบ้างหรือเปล่า 
จากสถิติแล้วมีคนพิการที่อยู่ในวัยทำงานเพียงไม่กี่เปอเซ็นต์ที่มีงานทำ แม้จะมีกฏหมายที่เข้ามาช่วย หรือมีการจ้างงานแบบใหม่ๆ ที่เอื้อให้คนพิการทำงานใกล้บ้าน แต่การไม่เข้าถึงสิ่งพื้นฐานแรกเริ่มอย่างการศึกษาก็ทำให้คนพิการขาดโอกาสการเข้าถึงอาชีพในอนาคตฟังประสบการณ์การทำงานของคนพิการว่า การทำงานเปลี่ยนชีวิต และสร้างโอกาสในการใช้ชีวิตอิสระได้อย่างไร แล้วทำอย่างไรคำว่า คนพิการและอาชีพ จะสามารถรวมกันได้อย่างกลมกลืน
"เด็กแต่ละคนมีความสามารถและข้อจำกัดทางการเรียนรู้ต่างกันออกไป ความรู้ทางด้านวิชาการบางประเภทอาจไม่ตอบสนองต่อความสามารถในการเรียนรู้ของเด็กบางคน ทำให้เด็กไม่สามารถพัฒนาศักยภาพของตนได้อย่างเต็มที่" ลัดดาวัลย์ ศานตินิรันดร ผู้อำนวยการโรงเรียนภัทรญาณวิทยา จ.นครปฐมกล่าวบนเวทีเสวนาเรื่อง “ทิศทางการเรียนรวมในประเทศไทย”
คนพิการไม่ใช่คนที่ไม่มีพื้นที่ แต่พื้นที่ที่คนพิการได้มักจะเป็นคนละที่กับที่คนทั่วไปใช้ คือเป็นพื้นที่ที่ถูกจัดสรรออกจากผู้อื่นข้อบ่งชี้ที่จะนำไปสู่ความเป็น Inclusive Development ต้องมีด้วยกันสามประการ อย่างแรกคือการมีส่วนร่วมหรือ full and Deflective participation ช่วยกันคิด ทำและช่วยกันรับผล อย่างที่สองคือ การเข้าถึงทรัพยากร อย่างสุดท้ายคือการเสริมพลังหรือ Empower ช่วยกันพัฒนาและเสริมพลังกันอย่างเต็มที่แนวคิดประชาธิปไตยควรจะ Inclusive Democracy คือไม่ควรจะเป็นประชาธิปไตยของคนส่วนใหญ่ แล้วแค่คำนึงถึงคนส่วนน้อย แต่ควรเป็นประชาธิปไตยของคนทุกคน Democracy for Allไม่ใช่การพัฒนาที่ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลังแต่หนีบไปเฉยๆ ทุกคนควรพัฒนาไปด้วยกัน พร้อมกัน
ในวัยมัธยม จะมีเด็กสักกี่คนที่รู้ว่าตัวเองนั้นชอบอะไร และอยากทำอะไร แต่นั่นไม่ใช่ผ้าย บุญธิดา ชินวงษ์ บิวตี้บล็อกเกอร์สาวน้อยขี้เล่น วัย 18 ปี ที่ตอนนี้ใครๆ ก็ต้องรู้จักเธอแน่หากพูดว่า ‘ฝ้าย ใช้เท้าแต่งหน้า’ 
หลายคนอาจสงสัยว่าเวลาใช้รถไฟฟ้า ไม่รู้จะขึ้นตรงไหนลงตรงไหน