Skip to main content
'น้ำหวาน' ชุติมา ตัวแทนจากไทยได้ตำแหน่ง Miss & Mister Deaf World 2017 หลังเข้าประกวดนางงามที่บกพร่องทางการได้ยิน นับเป็นคนไทยคนแรกที่ได้ตำแหน่งจากการประกวดในเวทีนี้
ชีวิตของเราทุกคนถูกหล่อเลี้ยงด้วยความหวังและความฝัน ขณะที่ความสมบูรณ์ของชีวิตมักถูกเติมเต็มด้วยการได้ลงมือทำในสิ่งที่รัก การท่องเที่ยวไปทั่วทีปทั่วแดนก็เป็นอีกหนึ่งความฝันยอดฮิตที่หลายคนไฝ่ฝัน สำหรับโสภณ ฉิมจินดาก็เช่นกัน เขาชื่นชอบการท่องเที่ยวเป็นชีวิตจิตใจ ก่อนที่โชคชะตาเล่นตลกใส่ด้วยการซัดตัวเขาลงจากไหล่เขาจนกลายเป็นคนพิการ ถึงแม้ร่างกายจะพิการแต่นั่นก็ไม่ใช่ข้ออ้างหรืออุปสรรคที่จะทำให้เขาหยุดฝัน เขาไม่อาจทำใจปล่อยฝันและสิ่งที่รักให้หลุดมือไปได้ จึงตัดสินใจออกเดินทางด้วยตนเองอีกครั้งด้วยวีลแชร์ โอกาส และหัวใจ จนกระทั่งได้พบคำตอบว่า แท้จริงแล้วเขาไม่ได้ชอบเที่ยวแต่กลับหลงรักชีวิตในขณะเดินทางเสียมากกว่า
คุณคิดว่า คำว่า deaf กับ Deaf แตกต่างกันหรือเปล่าครับในสังคมไทย จะ deaf หรือ Deaf ก็อาจแปลว่าหูหนวก หรือมีความ ‘พิการ’ ทางการได้ยินเหมือนๆกันหมด แต่ในอเมริกา deaf กับ Deaf นั้นแตกต่างกันอย่างมากคุณรู้ไหมว่าเพราะอะไร?
สนามเด็กเล่นแห่งใหม่ใน Zelienople เมืองเล็กๆ ของรัฐเพนซิเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา อาจดูไม่แตกต่างอะไรกับสนามเด็กเล่นทั่วไป แต่สำหรับเด็กๆ ที่ศูนย์บริการ Glade Run Lutheran สนามเด็กเล่นแห่งนี้เป็นอะไรที่มากกว่านั้น
สำนักงาน กสทช. จับมือ พม. ช่วยผู้พิการได้รับส่วนลดค่าโทรศัพท์เคลื่อนที่ขั้นต่ำ 10% และความเร็วในการใช้งานอินเทอร์เน็ตจะไม่ต่ำกว่า 1 Mbps ตลอดการใช้งาน ผ่านระบบลงทะเบียน 2 ช่องทาง
หลายคนอาจสงสัยว่า คนตาบอดมองไม่เห็นจะมองเห็นภาพได้อย่างไร? แต่โสภณ ทับกลอง กลับทำให้สิ่งที่เป็นไปไม่ได้กลายเป็นเรื่องจริง เขาคือคนพิการทางสายตาที่มองเห็นภาพต่างๆ ได้ไม่ต่างจากคนตาดี และวิธีที่เขาเลือกใช้แทนสายตามองก็ทำให้ใครหลายคนประทับใจ เพราะทุกภาพของเขาเกิดจากการจดจำการเคลื่อนไหว ช่วงเวลา และความรู้สึก
นี่อาจเป็นการท่องเที่ยวธรรมดา หรืออาจคือการค้นหา...ดินแดนเสรีที่มีพื้นที่ให้กับความแตกต่าง แล้วเอาเรื่องราวมาแบ่งปัน...Where Chill View Share
…ความสุขและความแปลกใหม่ที่คนมองไม่เห็นได้รับจากการท่องเที่ยว เหมือนกับการ ‘เติมไฟให้ชีวิต’ เป็นความสุขรูปแบบหนึ่งที่ไม่ว่าคนพิการ หรือคนไม่พิการก็ปรารถนาจะได้สัมผัสเช่นกัน…
ศาสตราจารย์ฮิวจ์ เฮอร์ หัวหน้ากลุ่มวิจัยไบโอเมคาโทรนิกส์ของเอ็มไอทีระบุว่า เรากำลังมาถึงจุดเปลี่ยนผ่านสำคัญในหน้าประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ โดยกำลังจะก้าวข้ามการใช้อวัยวะเทียมที่ทำงานแยกจากร่างกายของตนเอง ไปสู่การใช้อวัยวะ "ไบโอนิก" ซึ่งทำงานเลียนแบบกระดูกและกล้ามเนื้อตามธรรมชาติ และจะเชื่อมต่อเข้