Skip to main content
นั่งอยู่ก็ตกใจว่าจะทำอย่างไร แม้เขาจะยังไม่เอ่ยปากขอความช่วยเหลือ หลายคนระส่ำระส่าย คุณกำลังคิดว่าจะให้เขายืนอยู่ตรงไหน จะลุกให้เขานั่ง จะพาเขาไปนั่งเก้าอี้คนพิการ หรือปล่อยให้เขายืนต่อไป
เช้านี้ (4 มี.ค.62) ภาคีเครือข่ายขนส่งมวลชนทุกคนต้องขึ้นได้ และเครือข่ายคนพิการหลากหลายประเภท เดินทางรวมตัวหน้าศาลปกครอง ถนนแจ้งวัฒนะ เพื่อแถลงข่าวและรับฟังคำพิพากษากรณียื่นฟ้องค่าเสียหายบีทีเอสรายคน สืบเนื่องจากกรณีที่ศาลปกคร
ในวันนี้ 21 ม.ค. 2562 เป็นวันครบรอบ 4 ปี หลังศาลปกครองสูงสุดตัดสินให้ บีทีเอสต้องสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี (นับจาก 21 ม.ค. 2558) ThisAble.me  จึงอยากชวนคุณย้อนดูความเป็นมาเรื่องการสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกบนรถไฟฟ้าบีทีเอสตั้งแต่กลุ่มคนพิการเริ่มลุกขึ้นต่อสู้ในปี 2534 ซึ่งนับเป็น 27 ปีที่ยาวนาน และเหน็ดเหนื่อยสำหรับเครือข่ายคนพิการและผู้ที่เกี่ยวข้อง 
ข่าวอุบัติเหตุตกรถไฟฟ้าของเด็กสาวคนหนึ่งที่สิงคโปร์เมื่อหลายปีที่ผ่านมา ยังคงอยู่ในความทรงจำของใครหลายคน กว่า 7 ปีที่ผ่านมาชีวิตของเธอเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง เหตุการณ์ในวันนั้นทำให้ชีวิตปัจจุบันของเธอเป็นอย่างไร
หลายคนอาจสงสัยว่าเวลาใช้รถไฟฟ้า ไม่รู้จะขึ้นตรงไหนลงตรงไหน
นานมาแล้ว ผมเคยสนทนากับมิตรสหายท่านหนึ่งถึงปัญหาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ที่ไม่ใช่การออกแบบเพื่อทุกคน / การออกแบบเพื่อมวลชน / อารยสถาปัตย์ (Universal design) หนึ่งในนั้นคือระบบรถไฟฟ้า (ทั้งบนดินและใต้ดิน) ที่การออกแบบยังขาดๆ เกินๆ ในแทบทุกสถานี
18 พ.ค.2560 คนพิการกว่า 100 คน เดินทางเข้าร่วมฟังผลการไต่สวน หลังจากมีการไต่สวนเมื่อวันที่ 21 มี.ค.2560 เพื่อขอยื่นฟ้องแบบกลุ่ม ณ ศาลแพ่ง ถนนรัชดาภิเษก กรณีที่ กทม.และบีทีเอสไม่จัดสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการบนรถไฟฟ้านั้น
เครือข่ายคนพิการกว่า 30 คนเข้าร่วมทดลองใช้รถไฟฟ้าสายสีม่วงบางใหญ่-บางซื่อ พบมีการพัฒนา แต่ยังมีปัญหาหลายจุด ลิฟต์-สิ่งอำนวยความสะดวกไม่พร้อมใช้งาน-ใช้งานไม่ได้จริง
ภาคีเครือข่ายขนส่งมวลชนทุกคนต้องขึ้นได้ (T4A) สำรวจการก่อสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกเอ็มอาร์ทีพบสร้างไม่ครบ หนำซ้ำเพิ่มแพลตฟอร์มลิฟต์-ตีนตะขาบ ซึ่งอันตรายและใช้งานไม่ได้จริง ย้ำการสร้างต้องคำนึงถึงคนทุกคน