Skip to main content
หลายครั้งเมื่อนึกถึงคนหูหนวก เราอาจนึกถึงการสื่อสารระหว่างคนหูหนวก - หูดีที่ยากลำบาก เนื่องจากคนหูหนวกหลายคนใช้ภาษามือในการสื่อสาร บางคนอาจใช้การอ่านปากหรือบางคนก็อาจมีภาษามือที่ใช้กันเองเฉพาะกลุ่ม จนทำให้เห็นเสมือนว่า ภาษาที่
หลายคนมักคิดว่าการสร้างสรรค์บทสัมภาษณ์นั้นขึ้นอยู่กับกองบรรณาธิการหรือขั้นตอนการพิสูจน์อักษรเพียงเท่านั้น แต่สำหรับบทสัมภาษณ์ของคนหูหนวกนั้นจะสมบูรณ์ไม่ได้เลย หากไม่มี ‘ล่ามภาษามือ’ ที่ถ่ายทอดท่าทางภาษามือ ก็คงไม่มีใจความให้กองกองบรรณธิการได้ทำงานต่อ และคงไม่มีเสียงของคนหูหนวกออกสู่การร
"สังคมเราเป็นสังคมของคนหูดี หากเราเริ่มต้นรูปแบบของความเป็นไทยว่าต้องพูดภาษาไทย ก็เท่ากับว่าเราแยกคนหูหนวก รวมถึงคนไทยที่ไม่ได้พูดภาษาไทยออกไปจำนวนมาก 
คุณคิดว่าเสียงของความยุติธรรมนั้นดังพอหรือเปล่า?
คงปฏิเสธไม่ได้ว่า แม้จะมีแอพฯต่างๆ มากมายที่ทดแทนการดูทีวี แต่ทีวีก็ยังคงเป็นช่องทางที่ได้รับความนิยมสูงอยู่ คนพิการก็เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะคนพิการทางการได้ยินที่อินเทอร์เน็ตช่วยทำให้พวกเขาเข้าถึงข้อมูลข่าวสารมากขึ้น อย่างไรก็ดี ทีวีก็ยังเป็นอีกช่องทางที่คนหูหนวกเลือกรับสื่อ แต่ทีวีกลับมีช่องล่ามภาษามือเพียงแค่ไม่กี่ชั่วโมงต่อวัน
เมื่อวันที่ 4 เม.ย.ที่ผ่านมา เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้เผยแพร่ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เรื่อง การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของคนพิการ ให้เข้าถึงหรือรับรู้และใช้ประโยชน์จากรายการของกิจการโทรทัศน์ (ฉบับที่ 2) โดยเห็นควรแก้ไขเพิ่มเติมหลักเกณฑ์