Skip to main content
เราได้เห็นบทบาทของคนพิการในชีวิตจริงมาเยอะแล้ว คราวนี้ถึงเวลาไปดูบทบาทของพวกเขาผ่าน 7 มิวสิควิดีโอที่มีตัวละครเป็นคนพิการกันบ้างดีกว่า ว่าคนพิการจะมีบทบาทอะไรกันบ้าง #มีการสปอยเนื้อหาบางส่วน
ThisAble.me พาคุณมาฟัง 10 เพลงฮิตที่วงดนตรีคนตาบอด Diamond ถูกขอให้ร้องมากที่สุดโดยขนกันมาตั้งแต่เพลงประกอบละครย้อนยุคที่เรตติ้งพุ่งจนฉุดไม่อยู่เพลงแดนซ์สุดมัน และเพลงอกหักสุดช้ำกระแทกใจ จะมีเพลงที่อยู่ในใจของใครหลาย ๆ คนหรือไม่ มาฟังกันเลย ♫~DISCLAIMER: We do not own any of the songs being used in these videos. All credits to the companies that own them.
ThisAble.me ชวนคนไม่พิการมาปิดตาดูหนังผีร่วมกับคนตาบอดกันต่อเรามาดูกันว่าหนังผีที่เราเลือกมาให้ทั้งคู่รับชมอย่างเรื่อง โปรแกรมหน้าวิญญาณอาฆาต จะทำให้ใครสะดุ้งหรือขนลุกได้มากกว่ากัน
คนตาบอดกลัวผีไหม? ถ้าคนตาบอดดูหนังผี เขาจะกลัวไหม?ThisAble.me ชวนคนไม่พิการมาปิดตาดูหนังผีร่วมกับคนตาบอดเรามาดูกันว่าหนังผีที่เราเลือกมาให้ทั้งคู่รับชมอย่างเรื่อง Insidious จะทำให้ใครสะดุ้งหรือขนลุกได้มากกว่ากัน
เราเจอบุญรอดครั้งแรกตอนที่เราทั้งคู่กำลังจะสอบเข้ามหาวิทยาลัย เขานั่งอยู่บนม้านั่งตรงนั้นเหมือนไม่มีความพิการ จนเขาเริ่มเดิน ท่าเดินที่โยกไปโยกมา บวกกับแขนที่เกร็งก็พอทำให้เรารู้ว่า มีบางอย่างผิดปกติ แต่สิ่งที่แตะความสนใจของเรากลับไม่ใช่ความผิดปกตินั้น แต่เป็นความช่างคุยและความเป็น 'ผู้หญิง' ในตั
"ทำไมเขาถึงเย็นชากับเราขนาดนั้น"
"เขาคงอยากคุยกับคนรัก มากกว่ามานั่งเขียนให้คนรักอ่าน"
คณะคนหน้าขาวภายใต้การกำกับของมูลนิธิเสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป ร่วมกับหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร จัด"เทศกาลหัวใจพองโต"งานรำลึกถึงไพฑูรย์ ไหลสกุล (อั๋น คนหน้าขาว) นักละครใบ้คนสำคัญของไทยซึ่งเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจในเมื่อวันที่ 8 พ.ย. 60 
สัปดาห์แรกของโครงการ Accessibility and Universal Design 2017/2018 เพิ่งผ่านพ้นไป สัปดาห์ที่ผ่านมาเป็นสัปดาห์แห่งการเริ่มต้น ทำความรู้จัก และปรับตัว เราและเพื่อนคนพิการอีก 16 คนจาก 6 ชาติอาเซียนเริ่มเข้าขากันมากขึ้น รวมถึงเริ่มคุ้นเคยกับกระบวนกรและอาสาสมัครที่คอยมาช่วยเหลือดูแล การมามาเลเซียครั้งนี้ นับเป็นเรื่องแปลกใหม่ที่ดึงดูดใจเรามากขึ้นเรื่อยๆ ในทุกวัน เพราะได้เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับ Accessibility and Universal Design ตั้งแต่ขั้นเริ่มต้น ชนิดที่ต้องถามกันว่า Accessibility and Universal Design คืออะไร? จนกระทั่งการหาคำตอบของคำถามที่ว่า คนพิการอย่างเราจะสามารถตรวจสอบมาตรฐานของการเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวกและการออกแบบเพื่อคนทั้งมวลได้อย่างไร?
เมื่อวันที่ 22 ก.พ.61 มิวเซียมสยาม จัดงานเสวนา "Museum Infocus 2018" ในหัวข้อ “งานการศึกษาในพิพิธภัณฑ์เพื่อผู้พิการ” โดยมี เบญจวรรณ พลประเสริฐ ภัณฑารักษ์พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย, บุรินทร์ สิงห์โตอาจ นักการศึกษาอิสระ และยุภาพร ธัญวิวัฒน์กุล นักการศึกษามิวเซียมสยาม ร่วมเล่าประสบการณ์การจัดงาน