Skip to main content
นิว-ณุวัฒน์ ตาตุ พิการทางการมองเห็น ปัจจุบันเป็นอาจารย์ด้านกฎหมายที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เมื่อก่อนนี้นิวเคยใช้ชีวิตอยู่ที่กรุงเทพเพื่อเรียนปริญญาตรี-โท และทำงานตั้งแต่ปี 2557- ต้นปี2564 จึงทำให้มีประสบการณ์การเดินทางทั้งในกรุงเทพและต่างจังหวัด
“เพราะคนทั่วไปไม่ได้เกิดมาเข้าใจเรื่องคนพิการได้เลย แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่านโยบายที่ทำ ตึกที่สร้าง ทางที่เดินเหมาะสมกับคนหูหนวกหรือคนพิการแค่ไหน เราต้องพยายามให้เขาได้ออกมาพูดว่าปัญหาอยู่ตรงไหน ถ้าคนส่วนมากไม่รู้จักคนส่วนน้อย ก็เหมือนผลักคนที่ตัวเองไม่รู้จักออกจากสังคม” แหวว-จารุณี จรัสเ
เมื่อเราเปิดทีวี ไม่ว่าจะเป็นรายการข่าวหรือละคร สิ่งที่เราเห็นก็คือผู้คนและตัวละครที่มีความหลากหลาย ทั้งรูปลักษณ์หรือบทบาท ความหลากหลายนี้ทำให้เราเพลิดเพลินได้เสมอ แต่ความหลากหลายมีไว้เพื่อทุกคนหรือไม่ เมื่อคนพิการเข้ามามีบทบา
หากเราย้อนกลับไปในปี 2001 ทุกคนอาจจะเคยได้ยินเรื่องราวของสุนัขนำทางที่มีชื่อว่า “โรเเซล ” ที่ช่วยนำทางชายตาตาบอดพร้อมกับผู้คนอีก 30 ชีวิตในตึก ให้รอดพ้นอันตรายจากเหตุการณ์ 9/11 หรือตึกเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ถล่มในสหรัฐอเมริกา ได้อย่างกล้าหาญและดีเยี่ยม
“บางคนมองว่าพอเป็นคนพิการหรือคนตาบอดยังจะมีความต้องการหรืออยากไปเที่ยวอะไรแบบนี้อีกเหรอ เราอยากให้คุณมองว่า ถ้าคุณเป็นคนพิการหรือคนตาบอด คุณยังมีความรู้สึกหรือความต้องการอยู่หรือไม่ ซึ่งเราก็ยังมีความต้องการอยู่ อะไรที่เป็นบริการที่สังคมเข้าถึงได้ คนพิการหรือคนตาบอดก็อยากเข้าถึงได้เ
Apple เปิดตัวฟังก์ชันที่ออกแบบมาเพื่อคนพิการทุกประเภท โดยมีความเชื่อที่ว่า การเข้าถึงเป็นสิทธิมนุษยชนและเป็นการก้าวหน้าไปอีกขั้นของประวัติศาสตร์อันยาวนานของบริษัท โดย Sarah Herrlinger ผู้อำนวยการอาวุโสฝ่ายนโยบายระบุว่า นโยบายเรื่องการเข้าถึง (Global Accessibility Policy and Initiatives) ของ Apple
ในทุกอย่างก้าวที่ออกเดิน เราหลายคนมีรองเท้าช่วยป้องกันเศษแก้ว หนาม ตะปูและสิ่งสกปรก  ขณะที่บางคนใส่เพื่อออกกำลังกาย เตะฟุตบอล วิ่งมาราธอนหรือเตะตระกร้อ  ทำให้รองเท้ากลายเป็นส่วนสำคัญของการเดินอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นับตั้งแต่สมัยจอมพล ป.
ในชุมชนคนหูหนวก กลุ่มคนข้ามเพศหรือทรานส์เจนเดอร์เป็นประชากรจำนวนไม่น้อย พวกเขามีตัวตนแต่ไม่เป็นที่มองเห็นในสังคมทั่วไป จนทำให้เกิดการเลือกปฏิบัติ ทั้งจากอคติทางเพศและความรู้ที่มีอย่างจำกัด
การนำเสนอภาพจำของคำว่าคนพิการผ่าน  ThisAble.me แค่สื่อเดียวคงไม่สามารถลบภาพลักษณ์คนพิการดูน่าสงสารหรือเป็นภาระของผู้อื่นได้ สื่อกระแสหลัก เช่น โทรทัศน์และหนังสือพิมพ์ยังเป็นส่วนสำคัญในการกำหนดทิศทางและการรับรู้ของสังคมในวงกว้าง หากภาพจำที่น่ารันทดอดสู การมองคนพิการด้วยความสงสารนั้นถูกช่
ท่ามกลางช่วงที่ผ่านมา ทั่วโลกต่างออกมาต่อต้านการบูลลี่กันและกัน ไม่ว่าจะเพราะเพศ รูปร่าง หน้าตา สีผิวหรือแม้แต่ความพิการ เช่นเดียวกับในประเทศไทย กระแสของการใช้รูปลักษณ์และความพิการมาโจมตีก็ถูกต่อต้าน คนในสังคมมีความตระหนักและเรียนรู้เรื่องเหล่านี้เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด Thisable.me  ชวนคุยกับนิโ