Skip to main content
9 ตุลาคม ณ ทำเนียบรัฐบาล กลุ่มคนหูหนวกและกลุ่มเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการล่ามภาษามือทางอินเทอร์เน็ตฯ (TTRS) เข้าร้องเรียนนายกรัฐมนตรีขอให้พิจารณาสั่งการให้สำนัก กสทช.สนับสนุนงบประมาณศูนย์ TTRS หลังจากปิดให้บริการไป 7 วัน เนื่องจากขาดงบประมาณสนับสนุน
4 ตุลาคม ณ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์แถลงข่าวขับเคลื่อนภารกิจสำคัญหลังการประชุมกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยรัฐมนตรีพูดถึงกรณีของศูนย์ บริการ
2 ตุลาคม 2566 เฟสบุ๊กของศูนย์บริการล่ามภาษามือทางอินเตอร์เน็ตหรือทีทีอาร์เอส
เมื่อวันเสาร์ที่ 23 กันยายนที่ผ่านมา Thisable.me, ศูนย์การดำรงชีวิตอิสระคนพิการพุทธมณทล, บุญรอดบริวเวอรี่และเท่าพิภพบาร์โปรเจคร่วมจัดงานเสวนา “เสรีภาพหรือเสรีพร่อง 2.0” ในประเด็น “คนพิการกับการเมืองมรณะ” ที่จะชวนทุกคนตั้งคำถาม
เวลาเราเห็นข่าวผู้กระทำผิด ถูกดำเนินคดี และถูกส่งเข้าเรือนจำ หลายคนอาจดีใจที่อาชญากรคนหนึ่งถูกจำกัดสิทธิเสรีภาพ คนดีถูกปกป้องจากคนเลวได้ สังคมปลอดภัยภายใต้การมีอยู่ของกฎหมายและเรือนจำ ดังเช่นวลีแบบ “เอามันไปติดคุก แบบนี้ต้องประหาร” และอีกหลากหลายคำพูดในฐานะความเห็นของบุคคลทั่วไป เรากำลั
12 ก.ย. 2566 ที่รัฐสภาเกียกกาย มีการประชุมร่วมรัฐสภาเพื่อให้คณะรัฐมนตรี (ครม.) แถลงนโยบายต่อรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 162 เป็นวันที่ 2 โดยมีวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานรัฐสภา ทำหน้าที่ประธานการประชุม 
เมื่อวันเสาร์ที่ 15 กรกฏาคมที่ผ่านมา Thisable.me ร่วมกับศูนย์การดำรงชีวิตอิสระคนพิการพุทธมณทล จัดงานเสวนา “เสรีภาพหรือเสรีพร่อง 2.0” ในประเด็น คนพิการ สินค้าบุญกุศล มีผู้ร่วมเสวนา 3 คน ได้แก่ บุญรอด อารีวงษ์ คอนเทนต์ครีเอเตอร์
ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาหากกล่าวถึงชื่ออินฟลูฯท่านหนึ่งอย่าง หนูรัตน์หรือเฮเลน - สุภัคชญา ชาวคูเวียง ก็คงไม่มีใครไม่รู้จักเธอ เพราะนอกจากความน่ารัก สดใสแล้ว การพูดไม่ชัดและความเป็นคนซื่อยังเป็นเอกลักษณ์ที่ทำให้ใครหลายคนรู้สึกเอ็น
กฏหมายคนพิการดีอยู่แล้ว แต่ที่ผ่านมาบังคับใช้ไม่ได้ นี่คือความคิดของพรรคเปลี่ยนอนาคต ที่ต้องการเข้ามาทำให้สิทธิคนพิการเกิดขึ้นจริงจากนโยบายและกฏหมายที่มีอยู่เดิม