Skip to main content
คุยกับกัญจนา ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา เหตุใดชาติไทยพัฒนาถึงให้ความสนใจในเรื่องคนพิการ และปัญหาอะไรที่อยากจะแก้ไข ผ่านมุมมองประสบการณ์ใกล้ชิดคนพิการกว่า 20 ปี 
'โลกก้าวไกล ไทยต้องก้าวทัน' เป็นสโลแกนของพรรคไทยรักษาชาติ ThisAble.me จึงชวนคุยกับรองศาสตราจารย์นายแพทย์ เชิดชัย ตันติศิรินทร์ คณะกรรมการนโยบายพรรคไทยรักษาชาติว่า แล้วคนพิการจะก้าวทันได้อย่างไร
คนตาบอดเข้าถึงการเมืองได้แค่ไหน หลายครั้งเรามักได้ยินอุปสรรคของการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ของคนตาบอดทั้งเรื่องทั่วไปจนถึงเรื่องการเมือง แต่แท้จริงแล้วคนตาบอดสนใจและอยากเข้ามามีส่วนร่วมกับการเมืองแค่ไหน
“หลังการรัฐประหารครั้งล่าสุด เป็นครั้งแรกที่เราเจอกับการเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ มีผู้ถูกละเมิดสิทธิเยอะตั้งแต่วันแรกและมากขึ้นเรื่อยๆ จนรู้สึกว่า อยากจะออกมามีส่วนร่วมในการต่อต้านและปกป้องสิทธิของคนที่ถูกละเมิดตามกำลังเท่าที่เราจะทำได้”
“นโยบายคนพิการของประชาธิปัตย์มี 8 ข้อด้วยกัน” หลังจากสุดประโยคนี้ พวกเราก็คุยกันต่อยาวๆ กับวิพัตรา โตเต็มโชคชัยการ หรือเนย กรรมการนโยบายพรรคประชาธิปัตย์และหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง New Dem ซึ่งเธอเป็นตัวแทนเพื่อร่วมพูดคุยเกี่ยวกับเรื่องนโยบายคนพิการของพรรค
เช้านี้ (4 มี.ค.62) ภาคีเครือข่ายขนส่งมวลชนทุกคนต้องขึ้นได้ และเครือข่ายคนพิการหลากหลายประเภท เดินทางรวมตัวหน้าศาลปกครอง ถนนแจ้งวัฒนะ เพื่อแถลงข่าวและรับฟังคำพิพากษากรณียื่นฟ้องค่าเสียหายบีทีเอสรายคน สืบเนื่องจากกรณีที่ศาลปกคร
ภายใต้เอี๊ยมสีส้ม หมวกโจรสลัดและบุคลิกขี้เล่นทีเล่นทีจริงของสมบัติ บุญงามอนงค์หัวหน้าพรรคเกียน ความคิดถึง เอาใจใส่และมุ่งมั่นกลับเป็นสิ่งที่เราสัมผัสได้ตลอดการสัมภาษณ์ และถูกบอกเล่าผ่านนโยบายที่เขาจะผลักดัน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสวัสดิการ ทางเดินเท้า หรือแม้แต่สิทธิที่จะตาย
ปีที่แล้ว พงษ์ศักดิ์ จันทร์อ่อน ผู้ประสานงานมูลนิธิอัลเฟรลประจำประเทศไทย เป็นคนทำงานหลักในเวทีการขับเคลื่อนเรื่องสิ่งอำนวยความสะดวกของคนพิการในหน่วยเลือกตั้ง หลังพบว่าคนพิการประเภทต่างๆ มีอุปสรรคในการเข้าถึงการมีส่วนร่วมทางการเมืองในหลายขั้น โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมในกระบวนการสำคัญอย่างการเข้าถึงคูห
เปิดตัวอิโมจิใหม่เวอร์ชัน 12.0 ของปี 2019 โดยเว็บไซต์ Emojipedia โดยในเวอร์ชันใหม่นี้จะมีส่วนเพิ่มเติมอย่างสีใหม่ๆ ของสัญลักษณ์รูปเรขาคณิตต่างๆ เช่น สี่เหลี่ยม วงกลม และหัวใจ, หน้ากากดำน้ำ, วัดฮินดูและฟลามิงโก นอกจากนี้ยังมีอิโมจิที่เกี่ยวข้องกับสิ่งอำนวยความสะดวกและคนพิการที่ออกมาโดยแอปเปิลเมื่อ
ในวันนี้ 21 ม.ค. 2562 เป็นวันครบรอบ 4 ปี หลังศาลปกครองสูงสุดตัดสินให้ บีทีเอสต้องสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี (นับจาก 21 ม.ค. 2558) ThisAble.me  จึงอยากชวนคุณย้อนดูความเป็นมาเรื่องการสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกบนรถไฟฟ้าบีทีเอสตั้งแต่กลุ่มคนพิการเริ่มลุกขึ้นต่อสู้ในปี 2534 ซึ่งนับเป็น 27 ปีที่ยาวนาน และเหน็ดเหนื่อยสำหรับเครือข่ายคนพิการและผู้ที่เกี่ยวข้อง