Skip to main content
เพราะความเชื่อว่า ‘คนไม่เท่ากัน’ ทำให้พรรคชาติพัฒนากล้า พรรคน้องใหม่ไม่มีนโยบายรัฐสวัสดิการและการให้เบี้ยยังชีพคนพิการ 3,000 บาทเหมือนกับพรรคอื่นๆ แต่มองว่าการมีงานทำจะช่วยให้คนพิการดำรงชีวิตได้ด้วยตนเองและรู้สึกมีคุณค่าอย่างยั่งยืน 
ในฐานะพรรคที่เคยมี ส.ส.ในสภาฯ เป็นคนพิการ พรรคก้าวไกลในการเลือกตั้งครั้งนี้ ก็ยังคงทำงานเรื่องคนพิการอย่างต่อเนื่อง 
หากนึกถึงพรรคการเมืองพรรคใหญ่ หนึ่งในนั้นคงหนีไม่พ้นพรรคเพื่อไทย ซึ่งเป็นพรรคที่เป็นที่รู้จักของใครหลายคนรวมทั้งคนพิการ ชวนอ่านนโยบายผ่านบทสัมภาษณ์ชานันท์ ยอดหงษ์  ผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่ออันดับ 62 ของพรรคเพื่อไทย
ชวนอ่านบทสัมภาษณ์สุริยา แสงแก้วฝั้น เลขาธิการพรรคและผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่ออันดับ 2 ของพรรคสามัญชน 
23 มี.ค.ที่ผ่านมา เครือข่ายคนพิการและภาคีร่วมภาคประชาชน ร่วมกับวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม คณะเศรษฐศาสตร์และสถาบันปฎิรูปประเทศไทย มหาวิทยาลัยรังสิต จัดเสวนาในหัวข้อเรื่อง “เวทีประชาชน คนพิการอยู่ไหนในการเมืองไทย” โดยเชิญตัวแทนพรรคการเมืองต่างๆ เข้าเสนอนโยบายพรรคการเมืองในด้านคนพิการ ณ ห้องออด
23 มี.ค.ที่ผ่านมา เครือข่ายคนพิการและภาคีร่วมภาคประชาชน ร่วมกับ วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม คณะเศรษฐศาสตร์  และสถาบันปฎิรูปประเทศไทย มหาวิทยาลัยรังสิต จัดเสวนาในหัวข้อเรื่อง “เวทีประชาชน คนพิการอยู่ไหนในการเมืองไทย” โดยเชิญกลุ่มคนพิการหลากหลายประเภทแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายพรรคการเมืองที
“ปัญหาใหญ่ของเราคือการเป็นคนพิการทำให้หางานยาก ไปสมัครงานที่ไหนเขาก็ไม่อยากจ้าง นายจ้างดูอย่างไรก็ไม่คุ้ม หรือแม้อยากรับคนพิการ แต่พอมีประวัติเขาก็ไม่อยากรับ เราจึงเป็นตัวเลือกสุดท้ายที่เขาเลือก 
ไม่ใช่ทุกคนที่ขึ้นสะพานลอยได้ เราเดินทางมาแถวรังสิต จุดเชื่อมต่อสำคัญระหว่างการเดินทาง และรวมขนส่งสาธารณะไว้มากมาย ห้างสรรพสินค้า อย่างฟิวเจอร์พาร์ครังสิต ตลาดรังสิต โรงภาพยนตร์เมเจอร์รังสิต เรียกได้ว่ารังสิตเป็นจุดศูนย์กลาง