Skip to main content
ปัจจุบันประชากรโลกให้ความสำคัญกับเสรีภาพ สิทธิมนุษยชน และความเท่าเทียมมากขึ้น โดยเฉพาะความเท่าเทียมทางเพศระหว่างชาย-หญิง ที่กลายเป็นหัวข้อสำคัญในการขับเคลื่อนความเท่าเทียมในสังคมของโลกยุกโลกาภิวัตน์ แต่กระนั้นเองก็ยังมีความไม่เท่าเทียมที่ถูกกดทับยิ่งกว่าคือความเป็นหญิงและความพิการ
เมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด(มหาชน) ออกชี้แจ้งข้อเท็จจริงผ่านทางเพจ รถไฟฟ้าบีทีเอสกรณีเหตุการณ์ที่มานิตย์ อินทร์พิมพ์ หรือซาบะ
เมื่อวันที่ 11 มี.ค.เวลา 20.22 น.ที่ผ่านมา แฟนเพจเฟสบุ๊ก Accessibility Is Freedom โพสต์ภาพกระจกลิฟต์ของบีทีเอสสถานีอโศกที่แตกจากการทุบ  ทราบภายหลังว่าเป็นมานิตย์ อินทร์พิมพ์ หรือซาบะ นักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิคนพิการและแอดมินของแ
สัปดาห์แรกของโครงการ Accessibility and Universal Design 2017/2018 เพิ่งผ่านพ้นไป สัปดาห์ที่ผ่านมาเป็นสัปดาห์แห่งการเริ่มต้น ทำความรู้จัก และปรับตัว เราและเพื่อนคนพิการอีก 16 คนจาก 6 ชาติอาเซียนเริ่มเข้าขากันมากขึ้น รวมถึงเริ่มคุ้นเคยกับกระบวนกรและอาสาสมัครที่คอยมาช่วยเหลือดูแล การมามาเลเซียครั้งนี้ นับเป็นเรื่องแปลกใหม่ที่ดึงดูดใจเรามากขึ้นเรื่อยๆ ในทุกวัน เพราะได้เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับ Accessibility and Universal Design ตั้งแต่ขั้นเริ่มต้น ชนิดที่ต้องถามกันว่า Accessibility and Universal Design คืออะไร? จนกระทั่งการหาคำตอบของคำถามที่ว่า คนพิการอย่างเราจะสามารถตรวจสอบมาตรฐานของการเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวกและการออกแบบเพื่อคนทั้งมวลได้อย่างไร?
เมื่อ 8 ปีก่อน อีวาน โอเวนซิ่งนักออกแบบหุ่นยนต์และกลไกในภาพยนตร์ “ทรานฟอร์เมอร์” ได้ออกแบบนิ้วเทียมและพิมพ์ด้วยเครื่องมือสามมิติเพื่อให้ช่างไม้ชาวแอฟริก้าใต้ที่ถูกเครื่องจักรตัดนิ้วมือทดลองใช้ และปรากฎว่าสามารถใช้งานได้อย่างดี จนนำไปใช้กับกลุ่คนที่ประสบอุบัติเหตุจนพิการ และขยายไปทดลองใช้กับกลุ่มเด็กที่ถูกถุงน้ำคร่ำรัดมือจนไม่ไม่นิ้วขณะอยู่ในครรภ์อีกด้วย
เราเคยเห็นคนพิการถูกนำแสนอในสื่อแบบไหนบ้าง? คงปฏิเสธไม่ได้ว่า ภาพน่าสงสารมักมาพร้อมกับคนพิการในสื่ออย่างอัตโนมัติ เพราะอะไรคนพิการในสื่อจึงต้องน่าสงสาร นอกจากเรื่องความน่าสงสารและประเด็นดราม่าแล้ว ชีวิตคนพิการมีมิติไหนให้นำเสนออีกบ้างหรือเปล่า 
ย้อนดู 26 ปีการต่อสู้เรื่องสิ่งอำนวยความสะดวกบนบีทีเอสจากวันแรกที่ทำสัญญาสัมปทาน จนปัจจุุบันที่การสร้างลิฟต์และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ ก็ยังไม่เรียบร้อยดี แม้กลุ่มคนพิการจะยื่นฟ้องและชนะคดีต่อศาลปกครองสูงสุด เมื่อวันที่ 21 ม.ค.2558 ที่กำหนดให้บีทีเอสต้องสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี แต่จนตอนนี้การก่อสร้างก็ยังคงดำเนินอย่างค่อยเป็นค่อยไป และส่งผลให้เกิดการฟ้องเรียกค่าเสียหายที่สร้างไม่ทันกำหนดเวลา เรื่องราวนี้เป็นมาอย่างไร  ThisAble.me รวมไว้ให้อ่านที่นี่แล้ว
เมื่อวันที่ 14 ม.ค.ที่ผ่านมา เว็บไซต์มติชนออนไลน์รายงานว่า ผู้สื่อข่าวรายงานจากสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทยว่า ระหว่างการแถลง “ผลงานด้านเศรษฐกิจของรัฐบาล คสช. และการตรวจสอบการทุจริตประพฤติมิชอบประจำปี” ที่มีธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเข้าร่วมนั้น
พก.เตรียมเปิดศูนย์บริการคนพิการกทม. 4 มุมเมือง ด้วยนโยบาย “ศูนย์บริการใกล้ตัว ใกล้ใจ สำหรับคนพิการ” ตามเป้าหมายไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
ทราย-ภัทรา สังขาระ อายุ 29 ปี ใช้ชีวิตประจำวันส่วนใหญ่อยู่บนเตียงที่บ้าน หลังเกิดภาวะเนื้องอกทับเส้นประสาทที่หลัง จนทำให้ไม่สามารถเดินได้ แม้จะมีวีลแชร์ที่ใช้สำหรับไปไหนมาไหน แต่การนั่งก็ยังเป็นเรื่องยากสำหรับเธอ นั่นจึงทำให้การทำกิจวัตรนอกบ้าน หรือการประกอบอาชีพแทบจะเป็นไปไม่ได้เลย