Skip to main content
“เราไม่เคยคิดว่าวันหนึ่งจะได้พูดในสภาฯ แทนผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้า นี่เป็นหมุดหมายสำคัญมากตั้งแต่เข้ามาเป็น ส.ส.
เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา The Active Thai PBS เสวนาเปิดอนาคตสุขภาพจิตคนไทย 2576 “ระเบิดเวลาของความหวาดกลัว” หรือ “จุดหมายแห่งความสุข” อยู่ที่เราเลือกและกำหนดได้ 
ทุกวันนี้คนเริ่มหันมาสนใจกับสุขภาพเท้ามากขึ้น เห็นจากจำนวนคนรีแอคชั่นคอนเทนต์เท้าแบนบนสื่อโซเซียลมีเดียเป็นจำนวนมากหรือบูธผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเท้าที่โฆษณาให้ตรวจเช็คลักษณะเท้าได้ฟรีมีคนยืนต่อแถวรอวัดสุขภาพเท้าเพื่อผลิตแผ่นรองเท้าด
เวลาเล่นสื่อโซเชียลมีเดีย หนึ่งโพสต์ที่หลายคนเห็นผ่านตาคงเป็นโพสต์ของเพื่อนหรือคนรู้จักโพสต์ข้อความบรรยายความเจ็บปวดทรมานจากการป่วยเป็นโรคจิตเวช บางคนเศร้าหดหู่จนไม่อยากทำอะไรทั้งสิ้น บางคนไม่มีสมาธิจดจ่อทำอะไรนานๆ  บางคนได้รั
“ไอโฟนพังไป 10 เครื่องครับ พังก็ซื้อใหม่ จนเครื่องหลังๆ ต้องมีประกัน เคลมจนคุ้ม เคลมมาเก็บไว้ ตอนนี้ใช้โนเกีย 110 ตกเท่าไรก็ไม่พัง”
Thisable.me ชวนคุยกับ ผศ.ดร.ธีรวรรณ ธีระพงษ์ อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เจ้าของวิชาเลือกเสรีอย่างวิชาการพัฒนาการตระหนักรู้ในตน (Self-Awareness) ที่เขาคร่ำวอดกับคำๆ นี้และวิชานี้ยาวนานสิบกว่าปี มาพูดคุยกันว่า Self-Awareness และสุขภาพจิตมีความสัมพันธ์กันแบบไหน แ
เชื่อว่าหลายคนที่ไปโรงพยาบาลน่าจะเห็นป้ายที่ติดหน้าห้องตรวจมีโลโก้ห้ามถ่ายรูป ห้ามถ่ายวิดีโอ และห้ามบันทึกเสียงพร้อมกับข้อความคล้ายๆ กันว่า “การถ่ายภาพหรือบันทึกเสียง ในขณะที่แพทย์ พยาบาล ทำการรักษาพยาบาลถือเป็นการละเมิดสิทธิ ในการทำการรักษาผู้ป่วยของแพทย์และพยาบาล และเป็นการขัดขวางหรือ
“ถ้าแขกไม่ให้สีไม้ 36 สีกับมือเด็ก สีเหล่านั้นไม่มีทางมาถึงมือเด็กพิการในสถานสงเคราะห์แน่นอน เพราะไปอยู่กับลูกผู้ดูแลหมด บางทีแมจะให้กับมือเด็กโดยตรงแต่พอไปถึงตึกนอน เจ้าหน้าที่ก็เอาอย่างอื่นมาขอแลก หรือมากดดันว่าจะต้องเอาของอันนั้นให้เขา”
การนอนให้ครบ 7-8 ชั่วโมงตามคำแนะนำจากวารสารเรื่อง Prevalence of Healthy Sleep Duration among Adults — United States, 2014 รายสัปดาห์ของศูนย์ควบคุมโรคติดต่อสหรัฐอเมริกา (Centers for Disease Control and Prevention : CDC) อา
จากรายงานผู้ป่วยมารับบริการด้านจิตเวช ของระบบศูนย์กลางการให้บริการผู้ป่วยจิตเวชประเทศไทย กรมสุขภาพจิต ประจำปีงบประมาณ 2564 พบว่ามี ผู้ป่วยโรคอารมณ์สองขั้วหรือไบโพลาร์เข้ารับการรักษาทั้งหมด 10,368 ราย ติด 1 ใน 7 อันดับโรคทางจิตที่มีค