Skip to main content
กลุ่มนักพิทักษ์สิทธิคนพิการและความรุนแรงในครอบครัวชี้ ปัจจุบัน ทั้งผู้หญิงพิการและไม่พิการในแทสมาเนียเผชิญวิกฤตขาดที่พักอาศัย หลังหลบหนีออกจากความรุนแรงซึ่งเกิดขึ้นภายในบ้านของตัวเอง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีเปิดตัวเครื่องฟื้นฟูสมรรถภาพสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดที่เป็นอัมพาตครึ่งซีก ออกแบบให้ใช้งานร่วมกับเกมบนคอมพิวเตอร์ กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวแขน หัวไหล่ ข้อศอกและข้อมือ ช่วยฟื้นฟูให้กลับสู่สภาพปกติเร็วที่สุด
ศาลอุทธรณ์ในลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้ส่งกลับอำนาจการตัดสินไปยังผู้พิพากษาศาลครอบครัว ในคดีการส่งเด็กชายวัย 11 ปีและเด็กหญิงวัย 7 ปี ให้ไปอยู่ในความดูแลของครอบครัวอุปถัมภ์ในระยะยาว แทนการอยู่ในความดูแลของแม่ที่แท้จริงซึ่งเป็นคนพิการทางการเรียนรู้
ที่ผ่านมา การเดินทางของคนพิการยังนับว่า เป็นไปได้จริงลำบาก ไม่เพียงแค่อุปสรรคในการออกจากบ้านเท่านั้น การเรียกรถ การขึ้นลงหรือแม้แต่ความสบายใจในการเดินทางก็ยังเป็นประเด็นที่ทำให้คนพิการและครอบครัวนั้นหนักใจ
นักเต้นหญิงตาบอดหนึ่งในผู้เข้าแข่งขันรายการโทรทัศน์ชื่อดังของฝรั่งเศส เปลี่ยนวิถีชีวิตจากใช้อุปกรณ์คู่กายอย่างไม้เท้าขาวมาเป็นสุนัขนำทาง ซี่งเปิดประสบการณ์ใหม่เกี่ยวกับการเดินทางให้แก่เธอ
การเรียกรวมกลุ่ม ตั้งแถว และออกเดินมักเป็นขั้นตอนพื้นฐานในการจัดตั้งขบวน เพื่อเคลื่อนไหวประเด็นเพื่อต่อสู้เรื่องสิทธิ แต่สำหรับคนที่มีข้อจำกัดทางร่างกาย หรือคนพิการล่ะ การเคลื่อนไหวแบบนี้เอื้อให้พวกเขาเข้าร่วมได้หรือเปล่า
สำหรับคนที่มีภาวะบุคลิกภาพแตกแยกนั้นมักมองว่า โลกที่พวกเขาอยู่ไม่มีจริง เป็นเพียงกลุ่มฝุ่นหรือควันที่เป็นภาพแบนๆ 2 มิติ คน 1 ใน 100 คนมีแนวโน้มว่าจะมีอาการเหล่านี้ แต่มีจำนวนน้อยที่จะถูกวินิจฉัย
การแข่งขันกีฬาคนพิการ อาเซียนพาราเกมส์ ครั้งที่ 9 ที่ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันประเทศไทยคว้าแล้ว 6 เหรียญทองศึกอาเซียนพาราเกมส์-บอคเซีย 3 เหรียญทอง และแชมป์วีลแชร์บาสเก็ตบอล 6 สมัย
มูลนิธิเวชดุสิตเปิดตัวโครงการ “ความฝันไม่มีวันพิการ ปีที่ 3 ร่วม-ลงมือ-ทำ” และ ภาพยนตร์ประกอบโครงการ “Adaptive Clothing” มูลนิธิเวชดุสิต โดยการกำกับดูแลของบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) หรือ BDMS โดยร่วมกับแบรนด์ดีไซเนอร์ได้แก่ Sretsis (สเรทซิส)  Patinya (ปฏิญญา) และ Greyhound Original (
เว็บไซต์ประชาไท รายงานว่า องค์กรเวิร์ลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม (W3C) ซึ่งเป็นองค์กรวางมาตรฐานเว็บไซต์ทางอินเทอร์เน็ตถูกวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับการลงมติของพวกเขาเมื่อไม่นานมานี้ ว่าเป็นการเอื้อประโยชน์